ลักษณะทางกายวิภาคของตอมไทรอยด
ตอมไทรอยดเปนตอมไรทอที่ใหญที่สุดในรางกายมนุษย อยูดานลางของคอ น้ําหนักปกติประมาณ 15 ถึง
25 กรัม ซึ่งประกอบดวย Right lobe และ Left lobe เชื่อมติดกันทางดานลาง isthmus ตําแหนงของตอมไทรอยด
ปกติมีดังนี้
1. อยูระดับ Thyroid cartilage (Adam’Apple) และอยูเหนือ supra sternal notch (เปนตําแหนง
anatomical markers ในการตรวจ thyroid scan)
2. อยูหลังกลามเนื้อ sternothyroid และ sternohyroid ในบางคนอาจมี Pyramidal lobe (เปนสวนที่ยัง
เหลืออยูของปลายลางสุดของ embryogenic thyroglossal duct) โดยมักอยูเหนือ left lobe ของตอมไทรอยด
ตอมไทรอยดนั้นจะถูกหอหุมดวย fibrous capsule บางๆ ซึ่งติดอยูกับ pretracheal fascia (false capsule)
และตอมไทรอยดนั้นยังติดอยูกับ cricoid cartilage และ thyroid cartilage อีกดวย ทําใหมีการเคลื่อนที่ขึ้นลงเวลา
กลืนและสั่นเวลาพูด
โครงสรางของตอมไทรอยดและหนาที่(Thyroidstructure and function)
Primary function ของตอมไทรอยด คือ สราง เก็บ และหลั่งไทรอยดฮอรโมน (T3 และ T4) และ calcitonin
โครงสรางของตอมไทรอยดประกอบดวยถุงรี ๆ ที่เรียกวา thyroid ซึ่งมีเซลลอยู 2 ชนิด
1. Follicular cells สราง thyroid – T4 และ triiodothyronine – T3
2. Parafollicular cells สราง calcitonine ทําหนาที่ควบคุมสมดุลยของแคลเซียมและฟอสเฟตในเลือด
ในวัยหมดประจําเดือนจะใชในการรักษาภาวะกระดูกพรุน
ทําหนาที่และบทบาทของตอมไทรอยดฮอรโมน
ไทรอยดฮอรโมนจากตอมไทรอยดมีความสําคัญมากตอเมตาบอลิสมของรางกายทั่วไป มีผลตอการกลั่ง กา
ทําลายฮอรโมนเกือบทุกชนิด ตลอดจนการตอบสนองของรางกายตอฮอรโมนตางๆ ซึ่งสรุปไดคราวๆ ดังนี้
1. เปนฮอรโมนที่มีความจําเปนตอการเจริญเติบโตของรางกายทั่วๆ ไป การเสริมสรางกลามเนื้อการ
เคลื่อนไหว ชวยในการจัดเรียงตัวของเซลลที่อวัยวะตางๆ กระตุนใหเซลลสรางโปรตีนเพิ่มมากขึ้นดวย และทําให
รางกายสะสม ไนโตรเจน แตถามีฮอรโมนมากเกินไปจะมีผลกระตุนการสลายโปรตีน
2. มีความสําคัญและจําเปนมากตอการเจริญเติบโตของกระดูก ซึ่งมีความสําคัญนี้พบไดตั้งแตทารกอยูใน
ครรภ ถาไมไดรับฮอรโมน จะพบความผิดปกติของกระดูกในเด็กอยางชัดเจนการเจริญเติบโตของกระดูก epiphysis
ของฟน และอวัยวะอื่นๆ จะชาผิดปกติ จะเตี้ยแคระ
3. มีผลเปน calorigenic action คือการควบคุมอัตราการเผาพลาญสารอาหารตางๆ ในรางกาย การผลิต
ความรอนและใชพลังงานทําใหเกิดความอบอุนแกรางกาย (calorgenesis) ซึ่งเปนการเรงขบวนการ catabolic เพื่อ
การปรับตัวใหเขากับความรอนหนาว ทําให basal metabolic rate (BMR) เพิ่มสูงขึ้นและกระตุนเพิ่มการให
ออกซิเจน (02 consumption)
4. มีผลกระตุนทุกขั้นตอนของคารโบไฮเดรตเมตาบอลิสม กระตุนการสรางกลูโคส (gluconeogenesis)
การดูดซึมน้ําตาลกลูโคสเพื่อเพิ่มระดับกลูโคสในเลือดเพื่อใชเปนพลังงานเรงขบวนการสลายกลัยโคเจนเปนกลูโคส
(glycogenolysis)
5. ลดการสรางไขมัน (lipolysis) จากเนื้อเยื่อไขมัน และเซลลอื่นๆ เพิ่มขึ้น ทําใหมีกรดไขมันอิสระใน
กระแสโลหิตและถูกเซลลตางๆ นําไปใชพลังงานเพิ่มขึ้น
6. เพิ่มความตองการของวิตามิน และ coenzyme เพื่อใชในกระบวนการเมตาบอลิสมของรางกายจําเปน
สําหรับการสังเคราะหวิตามิน A จาก carotene ถาขาดฮอรโมน การสรางวิตามิน A นอย ผูปวยจะผิวเหลือง
7. มีผลโดยตรงตอการทํางานของระบบประสาทในผูใหญ และมีความจําเปนตอการเจริญเติบโตพัฒนาการ
ของสมองและระบบประสาทของทารกโดยเฉพาะในปแรก ถาขาดฮอรโมนจะผิดปกติ เซลลประสาทจะลดลงทั้ง
ขนาดและจํานวนจะเปนปญญาออน
นอกจากนี้ไทรอยดฮอรโมนยังมีความสําคัญตอระบบสืบพันธุและตอการผลิตน้ํานมดวย และมีผลตอการ
หลั่งฮอรโมน Corticosteroid
การควบคุมการทํางาน
ไทรอยดฮอรโมนถูกควบคุมโดย TSH ซึ่ง TSH มีผลตอการสรางฮอรโมนขณะเดียวกันในระดับ T3, T4 ที่
สูงขึ้นในเลือดจะเปนตัวสื่อกลับไปยับยั้งตอมใตสมองสวนหนาโดยตรงหรือขึ้นไปยับยั้งที่ระดับฮัยโปธาลามัสเพื่อ
ยับยั้งการหลั่ง TRH เพราะ TSH ก็จะถูกควบคุมโดย TRS นอกจากนี้ somatostanin, dopamine จะมีผลยับยั้งการ
หลั่ง TSH ดวย แตระดับ T3, T4ลดลงจะมีการกระตุนฮัยโปธาลามัสใหหลั่ง TRH เพื่อกระตุนการหลั่ง TSH และ TSH จะ
กระตุนสราง T3, T4
เสนเลือดที่หลั่งออกมา Arterial supply of the thyroid gland
ตอมไทรอยดไดรับเลือดแดงมาจาก
1. extenal carotid arteries โดยใหแขนง superior thyroid arteries ไปเลี้ยง superior pole ของตอม
ไทรอยด
2. subclavian arteries โดยใหแขนง inferior thyroid artery เปนแขนงใหเลี้ยง inferior pole ของตอม
ไทรอยด มีความสําคัญทางคลินิกคือ ตอมไทรอยดมีเลือดมาเลี้ยงมาก ถามีการผาตัดตอมไทรอยด อาจเปนสาเหตุ
ที่ทําใหเลือดออกมาได
Venous drainage of the thyroid gland
ประกอบดวยเสนเลือดดํา 3 คู อยูบริเวณผิวหนาตอมไทรอยด
1. superior thyroid veins นําเลือดออกมาจาก superior pole
2. middle thyroid veins นําเลือดออกจากดานขางของตอมไทรอยด โดยทั้ง superior thyroid veins และ
middle thyroid veins เปดเขาสู internal jugular veins
3. inferior thyroid veins นําเลือดออกจาก inferior pole ของตอมไทรอยดและเปดเขาสู brachiocephalic
veins ซึ่ง inferior thyroid veins นี้อยูหนา trachea และอยูใต isthmus จึงอาจเปนสาเหตุที่ทําใหเลือดออกมากได
ระหวางผาตัด tracheotomy
Lymphatic drainage of the thyroid gland
ระบบทางเดินน้ําเหลืองของตอมไทรอยด จะอยูในเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่อยูระหวาง right lobe และ left lobe
โดยอยูรอบๆ เสนเลือดแดงและเชื่อมตอกับทางเดินน้ําเหลืองของ capsule, prelarygeal lymph nodes,
pretracheal และ deep cervical lymph nodes ซึ่งจะเปดเขาสู brachiocephalic lymph nodes หรือเปดเขาสู
thoracic duct โดยตรง
Nerve supply of thyroid gland
เสนประสาทที่มาเลี้ยงตอมไทรอยดมาจาก superior, middle และ inferior cervical suympathetic ganglia
ซึ่งมาจาก cardiac และ laryngeal branches ของ vagus nerver
ขั้นตอนการทํางานของตอมไทรอยด
1. Trapping: โดย Thyroid follicular cells ในตอมไทรอยดจับไอโอดีนในกระแสเลือดในรูปของ iodide ซึ่ง
ดูดซึมจากอาหารและน้ําที่ลําไสเล็กสวนตน เรียกขั้นตอนแรกนี้วา iodide trap
2. Organification: iodide ที่ถูกจับเขาไปนั้นจะถูกเติมออกซิเจนกลายเปนไอโอดีน thyroglobulin ที่เปน
โปรตีนซึ่งมี thyrosine เปนสวนประกอบจะจับไอโอดีนแลวกลายเปน diiodothyrosine (DIT)
3. Coupling: DIT 2 ตัวรวมกันกลายเปน T4และ MIT และ DIT รวมกันกลายเปน T3 ซึ่งทั้ง T4 และ T3
เปนฮอรโมนไทรอยดที่ออกฤทธิ์โดย Bound T4ถูกเก็บอยูใน Thyroid follicular cells ประมาณ 2 – 3 เดือน
83 % ของ T4จะถูกจับอยูกับ Thyroglpbulinไทรอยดฮอรโมนสวนที่เหลือจะอยูในรูปอิสระและพรอมออกฤทธิ์ตอเซลล
4. Hormone Release: จะอยูภายใต Negative Feedback Mechanism เมื่ออยูในกระแสเลือดแลว T3 และT4
จะจับอยูกับโกลบูลิน เปน thyroxine – binding globulin (TBG) ซึ่งโกลบูลิน เปนพลาสมาโปรตีนสวนใหญใน
กระแสเลือด และไปจับกับพลาสมาโปรตีนสวนนอย ซึ่งไดแก albumin และ prealbumin ซึ่งพลาสมาโปรตีนเหลานี้
จะเปนตัวพาฮอรโมนไทรอยดไปยังเนื้อเยื่อตางๆ ซึ่ง T4จะถูกเปลี่ยนเปน T3และ T3จะกระตุนใหเกิดขบวนการ oxidation
ไทรอยดฮอรโมนที่อยูในรูปอิสระนี้เองจะยับยั้งตอมพิทูอิทารีย ไมใหหลั่ง TSH ดังนั้นจึงลดการกระตุนการ
สรางฮอรโมนของตอมไทรอยด
Pathophysiology
ไทรอยดฮอรโมนอาจถูกสรางมากเกินไปหรือนอยเกินไปก็ได
1. Over – Production ทําใหไทรอยดฮอรโมน T3และ T4สูง ซึ่งเรียกวา hyperthyroidism อาการคือ
เหงื่อออกมา ใจสั่น น้ําหนักลด หงุดหงิดงาย และอาจมีตาโปนรวมดวย
2. Under – Production ทําใหไทรอยดฮอรโมน T3และ T4ต่ํา ซึ่งอาจเรียกวา Hypothyroidism
อาการคือ เหนื่อยงายและน้ําหนักเพิ่มมีผลตอหลายๆ อวัยวะความผิดปกติอาจเปนแบบทั้งตอมหรือบางสวนก็ได้
โรคของตอมไทรอยด
Hyperthyroidism
เปนอาการที่เกิดจากตอมไทรอยดทํางานเกิน (มีระดับไทรอยดฮอรโมนสูงกวาปกติ) ซึ่งอาจมีสาเหตุจาก
1. Diffuse toxic goiter หรือ Graves’disease
Goiter เปนภาวะที่ตอมไทรอยดมีขนาดโตขึ้น เรียกวา คอพอก เปนสาเหตุที่พบไดบอยที่สุดของ
hyperthyroidism ในผูหญิงอายุนอยในชวง 3rd& 4thdecades พบในผูหญิงสูงกวาผูชาย 4 – 8 เทา สาเหตุที่
แทจริงในการเกิดโรคยังไมทราบแนนอน แตคิดวาอาจเกิดจาก autoimmune disorder เพราะวาจากการศึกษาใน
หลายสถาบัน สามารถตรวจพบ autoantibodies ในกระแสเลือดของผูปวยกลุมนี้
ผูปวย Graves’disease มักจะมี autoantibodies หลายชนิดอยูในซีรัมซึ่งรวมเรียกวา thyroid stimulating
immunoglobulins (TSI) โดยที่ antibodies เหลานี้จะจับที่ตําแหนงใกลเคียงกับ thyroid stimulating hormones
receptors บน thyroid membrane ทําใหกระตุนการทํางานของตอมไทรอยด
ในโรคนี้การทํางานของตอมไทรอยดจะเปนเอกเทศ (Autonomous) โดยไมอยูภายใตการควบคุมของ
pituitary และ hypothalamus อาการ hyperthyroidism ในผูปวยเกิดจากการสราง thyroid hormones ออกมา
มากกวาปกติ ผูปวยมักจะมาโรงพยาบาลดวยอาการและอาการแสดงของ hyperthyroidism จากการตรวจรางกาย
ผูปวยตอมไทรอยดมักจะมีขนาดโตทั้งสองขางเทาๆ กัน (diffuse enlargement) และมีผิวเรียบ แตในผูปวยบางคน
อาจมีขนาดปกติ ซึ่งอาจจะมีอาการทางตาและผิวหนังรวมดวย เชน ตาโปน
2. Multinodular goiter
เปนโรคตอมไทรอยดที่พบไดบอย เปนอาการคอโตแบบไมสม่ําเสมอเนื่องจากมีกอนขนาดตางๆ กัน พบได
บอยในผูหญิงวัยกลางคน เชื่อกันวามีสาเหตุมาจากการที่มีระดับไทรอยดฮอรโมนลดต่ําลง ซึ่งเปนผลมาจากความ
ผิดปกติในขบวนการสรางฮอรโมนหรือจากการขาดไอโอดีนในอาหารและการรับประทานอาหารที่มี goitogens เปน
สวนประกอบอยูเปนประจํา เมื่อระดับไทรอยดลดลงทําใหมีการหลั่ง thyroid stimulating hormone (TSH) จากตอม
pituitary เพิ่มขึ้นและถาระดับ TSH สูงเปนเวลานานมีผลทําใหเกิดเปนกอนในตอมไทรอยด
อาการ Hypothyroidism ในผูปวยกลุมนี้พบไดนอยมาก แตถาพบมักจะมี underlying มาจาก Hashimoto’s
thyroidism ซึ่งเปน autoimmune disease จากภาพ thyroid scan จะมีลักษณะเฉพาะ คือมีตอมไทรอยดโต และมี
multiple cold warm & hot areas กระจายอยูทั่วๆ ไป ซึ่งมีลักษณะนี้เกิดจากระยะตางๆ ของ thyroid adenomas
ตั้งแต hyperfunctioning ไปจนถึง cystic หรือ degenerative lesions แตในผูปวยบางรายอาจพบวามีตอมไทรอยด
โตและมี diffuse irregular uptake ก็ได
Cold nodules ที่พบใน multinodular gland นี้มีโอกาสที่จะเปนมะเร็งนอยมาก คือ นอยกวา 50% แตถา
พบในผูปวยเด็ก หรือผูปวยที่เคยมีประวัติฉายแสงในบริเวณศีรษะ และคอมากอนโอกาสที่จะพบเปนมะเร็งของตอม
ไทรอยดในผูปวยกลุมนี้จะสูงขึ้น
3. Thyroiditis
เปนสภาวะที่ตอมไทรอยดมีอาการอักเสบโดยมีอาการเจ็บคอ และตอมไทรอยดโตขึ้นรวมกับอาการ
hypertyroid กลุมของโรคนี้ ไดแก acute และ subacute thyroiditis, chronic autoimmune thyroiditis
(Hashimoto’s thyroiditis) และ radiation thyroiditis ที่เกิดภายหลังการรักษาดวยรังสีผูปวยรอยละ 50 ของกลุม
subacute thyroiditis ที่มีอาการอักเสบแบบ non - suppurative พบวามีคา uptake ต่ํามากทําใหไมเห็นตอม
ไทรอยดจากภาพถายรังสีซึ่งตางจากกลุม acute thyroiditis ที่มีอาการอักเสบจากการติดเชื้อไวรัส ภาพถายรังสีของ
ตอมไทรอยดจะมีลักษณะเปน localize area ของ decrease uptake
Hypothyroidism
เปนภาวะที่มีระดับตอมไทรอยดฮอรโมนต่ํากวาปกติอาจมีสาเหตุจาก
1. ความผิดปกติของตอมไทรอยดที่หลั่งฮอรโมนออกมาไมเพียงพอ
2. ภาวะ autoimmune thyroiditis หรือ Hashimoto’s thyroiditis
3. ภาวะการขาดไอโอดีนเปนเวลานานทําใหเกิดเปนคอพอกเพื่อทํางานชดเชยและเปนเหตุทําใหเกิด
สภาวะ hypothyroidism ภายหลัง
4. ความผิดปกติของตอมไทรอยดที่มีมาตั้งแตเกิด
5. ตอม pituitary ถูกทําลายทําใหมีการหลั่ง TSH ลดลง
Thyroid nodule
เปนสภาวะที่ตอมไทรอยดมีกอน แบงออกได 3 ชนิด คือ
1. Cold nodule
จะเห็นเปน focal area of absent หรือ decrease uptake เมื่อเปรียบเทียบกับเนื้อของตอมไทรอยดที่อยู
รอบๆ เปน nodule ที่ไมมีหรือมี function นอยกวาปกติและลักษณะที่ไม specific เพราะอาจเกิดจากพยาธิสภาพ
ไดหลายอยาง
สาเหตุของการเกิด Solitary cold thyroid nodules
1. Collidal cyst พบไดประมาณ 70 – 75 %
2. Carcinoma
พบไดประมาณ 15 – 25 %
3. Adenoma
4. Focal thyroiditis, abcess
5. Hematoma
6. Lymphoma,metastasis
7. Parathyroid adenoma
8. Lymph node enlargement
พยาธิสภาพสวนใหญที่ทําใหเกิด solitary cold thyroid nodule มักจะเปน benign lesion คือ colloidal cyst
และ adenoma ดําเนินการตรวจดวย ultrasound จึงมักจะมีประโยชนมากในการแยกระหวาง benign cystic ออก
จาก solid lesion อื่นๆ และประมาณ 15 – 25 % อาจเกิดจากการ CA thyroid ได โดยเฉพาะถาพบในผูหญิงอายุ
นอยหรือในผูชายทุกวัย นอกจากนี้ยังมี Clinical factors อีกหลายอยาง ที่ทําใหคิดถึง benign หรือ malignacy มาก
ขึ้น เชน เพศ อายุ มีลักษณะของกอนมีตอมน้ําเหลืองโตรวมดวย มีเสียงแหบรวมดวย เปนตน
แตถาผูปวยเคยมีประวัติฉายแสงในบริเวณศีรษะและคอมากอนโอกาสที่ Single cold nodule นั้นจะเปน
malignancy จะเพิ่มขึ้นเปนประมาณ 40 %
2. Hot nodule
เปน Palpable nodule ที่จะเห็นเปน focal area of increase uptake จากภาพสะแกน โดยที่อาจจะเห็น
หรือไมเห็นเนื้อของตอมไทรอยดที่อยูรอบๆ ก็ได
สาเหตุของการเกิด hot nodule
1. Hyperfunction adenoma (s): toxic or nontoxic
2. Carcinoma
พบไดประมาณ 2 %
3. Anatomical variant
4. Hyperfunctioning normal thyroid tissue (compensatory hypertrophy) ใน diseased gland เชน
หลังเปน thyroiditis หรือหลังการรักษาดวยการผาตัดหรือฉายแสง
เนื่องจากวาโอกาสที่ hot nodule จะเปนมะเร็งของตอมไทรอยดนั้นมีนอยมากคือ เพียง
2 % เทานั้น ดังนั้นบางคนจึงถือไดวาพบ hot nodule ใหถือวาเปน benign disease ไวกอน
3. Warm nodule
เปน palpabke nodule ที่มี uptake ไดเทากับหรือนอยกวา normal thyroid tissue ที่อยูรอบๆ เพียง
เล็กนอย ดังนั้นถาเราดูแต thyroid scan เพียงอยางเดียวโดยไมตรวจรางกายผูปวยอาจทําใหเรา missed lesion
ชนิดนี้ก็ได้
สาเหตุของการเกิด Warm nodule
1. Carcinoma พบไดประมาณ 4 %
2. Functioning adenoma ที่มีการทํางานเทากันกับ เนื้อของตอมไทรอยดที่อยูขางเคียง
3. Anatomical variant
4. Cold nodule ที่อยูลึกในเนื้องอกตอมไทรอยด โดยมี normal thyroid tissue คลุมทับอยูดานบนการ
ทํา thyroid scan ในทา oblique อาจจะชวยบอกถึง true nature ของพยาธิสภาพได
Thyroid cancer (มะเร็งตอมไทรอยด)
1. มะเร็งตอมไทรอยดชนิดปาปลลารีย (Papillary)
มะเร็งตอมไทรอยดชนิดปาปลลารีย มีอุบัติการรอยละ 30 – 70 ในอายุระหวาง 5 – 90 ป หรือ เฉลี่ย 45 ป
ประมาณรอยละ 9 เกิดในคนอายุนอย ต่ํากวา 20 ป ประมาณรอยละ 48 มักลุกลามไปยังตอมน้ําเหลืองที่คอ หรือถา
เปนมากอาจลุกลามไปที่ปอด แตมักไมคอยไปอวัยวะอื่นๆ เชน กระดูก สมอง ตับ ถาเปนนอยอาจไมมีอาการ
หรือไมแสดงอาการรุนแรง
มะเร็งมักอยูเฉพาะในกลีบหนึ่งของไทรอยด
หรืออาจขามไปอีกกลีบหนึ่งทางทอ
น้ําเหลือง โดยมากมักเปนกอน ขนาดประมาณ 1.5 เซนติเมตร หรืออาจคลําพบ การแพรกระจายไปยังตอม
น้ําเหลืองที่คอ การพยากรณโรคโดยทั่วไปนับวาดี
2. มะเร็งตอมไทรอยดชนิดฟอลลิคูลาร (Follicular)
มะเร็งตอมไทรอยดชนิดฟอลลิคูลาร มีอุบัติการรอยละ 10 – 40 อาจพบไดบอยในเขตที่ขาดไอโอดีน มะเร็ง
ชนิดฟอลลิคูลารแบงไดเปน 2 ประเภท ตามลักษณะจุลพยาธิ คือ
ชนิดไมรุนแรง (low risk group) มีการแบงตัวของเซลลไดชัดเจน และขึ้นอยูกับคนอายุไมมาก มี
พยากรณโรคดี ยังไมมีเซลลมะเร็งไปรุกลามเขาไปในหลอดเลือด หรือทะลุออกนอกเปลือกของกอนมะเร็ง ซึ่งไม
แตกตางไปจากพวก benign follicular adenoma
ชนิดรุนแรง คือ ฟอลลิคูลารนี้ ในคนอายุมากขึ้น (high risk group) มีการแบงตัวของเซลล ไม
ชัดเจนเทา และมักลุกลามเขาไปในหลอดเลือดและทะลุเปลือกของกอนมะเร็ง
มะเร็งฟอลลิคูลารนี้ จะไมเกิดขึ้นหลายแหง (multicentric) หรือกระจายไปยังตอมน้ําเหลืองที่คออยางมะเร็ง
ชนิดปาปลลารีย (intermediate risk group) แตมักจะลุกลามไปตามเลือดไหลเวียน โดยเฉพาะไปยังกระดูกและ
ปอด แตไมคอยไปสมอง และตับ
เด็กที่เคยไดรับรังสีบริเวณศีรษะและลําคอ เมื่อเติบโตขึ้นเปนผูใหญ เคยพบวากลายเปนมะเร็งของไทรอยด
ชนิดปาปลลารีย และฟอลลิคูลาร มะเร็งชนิดฟอลลิคูลาร มีการแบงตัวของเซลลไดชัดเจนและจับไอโอดีนไดดี จึง
เหมาะกับการรักษาดวยไอโอดีน-131 ในแงการรักษา อาจรวมมะเร็งของตอมไทรอยดชนิดปาปลลารีย และฟอลลิคู
ลารเขาดวยกัน ซึ่งประมาณรอยละ 80 ของเซลลมะเร็งไทรอยดทั้งหมด ประกอบดวยเซลลที่แบงตัวชัดเจน พวก
ฟอลลิคูลาร จะประกอบดวยกอนมะเร็งของฟอลลิคูลารของไทรอยดลวนๆ สวนชนิดปาปลลารีย จะประกอบดวย
เซลลที่จัดเรียงตัวแบบปาปลลารีย และมีโครงสรางฟอลลิคูลารปนอยูดวย เนื่องจากการที่มีสวนเปนฟอลลิคูลาร
ผสมอยูนี้ กอนมะเร็งทั้งสองชนิดจึงมีคุณสมบัติทางเอนโดครายด คลายคลึงกัน แตเดนชัดนอยกวาฟอลลิเคิลของ
ไทรอยด แตถาไดมีการตัดหรือทําลายเนื้อเยื่อของไทรอยดปรกติออกไป หรือมีการกระตุนดวย TSH กอนมะเร็ง
เหลานี้ก็สามารถดูดและสังเคราะหไอโอดีน
คุณสมบัติเหลานี้เองจึงไดนํามาใชทั้งการตรวจหาและรักษาโดยการ
จํากัดมะเร็งตอมไทรอยดดวยไอโอดีน-131
โดยทั่วไปวิธีการรักษามะเร็งตอมไทรอยดชนิดปาปลลารีย และฟอลลิคูลาร ก็มักจะเปนไปในทางเดียวกัน
แตก็มีความเห็นแตกตางกันมา ถาหากวาลักษณะทางจุลพยาธิจึงไมมีการแสดงวาเซลลมะเร็งไดลุกลามเขาไปใน
หลอดเลือด
3. มะเร็งตอมไทรอยดชนิดอะนาพลาสติก (Anaplastic)
มักจะพบบอยในผูสูงอายุ แตเกิดขึ้นไมบอยนัก และไมสนองตอบตอการรักษาใดๆ สวนใหญผูปวยจะถึงแก
กรรมภายใน 6-12 เดือน ไอโอดีน-131 ไมชวยในการรักษา สวนใหญมะเร็งชนิดนี้มักจะปรากฏวาเปนอะนา
พลาสติกการรักษาก็ไดผลการประทังเทานั้น บางครั้งมะเร็งอะนา-พลาสติก อาจจะมีฟอลลิคูลารปนอยูดวย ซึ่ง
อาจจะสนองตอบตอไอโอดีน-131 แตไมไดทําใหการพยากรณโรคดีขึ้น เพราะวามีสวนประกอบเปนอะนาพลาสติก
นั่นเอง
4. มะเร็งตอมไทรอยดชนิดเมดัลลารีย (Medullary)
เปนมะเร็งของพาราฟอลลิคูลารหรือ ซี.เซลล ของตอมไทรอยด ซึ่งมีสวนสําคัญ 3 ประการ คือ
1. เกิดขึ้นเปนครั้งคราวสืบเนื่องทางพันธุกรรม เปน autosomal dominant รวมกับการมีฟโอรโครโมซัย
โตมา (pheochromocytomao) และพาราไทรอยดอะดีโนมา
2. มะเร็งชนิดนี้หลั่งแคลซิโตนิน ซึ่งวัดไดในหลอดเลือดดวยเรดิโออิมมูโนเอสเสย
3. มักมีอาการ และอาการแสดง คือ ทองรวง หนาแดงเวลาดื่มสุรา มีนิวโรมา ที่เยื่อบุ และมีลักษณะ
คลายมารแฟน ซินโดรม (Marfan synrome)
ตารางที่ 1 ลักษณะชนิดของเซลลมะเร็งของตอมไทรอยด
ชนิดของเซลลมะเร็งตอมไทรอยด
อุบัติการเกิด
Papillary 65 %
Follicular 12 %
Medullary10 %
Anaplastic (Lymphoma) 5 %
ความเสี่ยงที่จะเปนมะเร็ง
1. อายุ นอยกวา 20 ป มากกวา 40 ป
2. เพศชาย
3. ประวัติครอบครัวเปนตอมไทรอยด
4. เคยได Ionization radiation
5. มี Compression symptom เชน เสียงแหบ
6. กอนโตเร็ว
7. มี Lymph node โต
การวินิจฉัยโรคมะเร็งที่ตอมไทรอยดโดยการสะแกน
Tc – 99m MIBI (2 – Methoxylisobutylisonitrile)
ถูกแนะนําขึ้นครั้งแรกในงานเวชศาสตรนิวเคลียร
จากการศึกษาการทํางานของกลามเนื้อหัวใจแบบ
Perfusion โดยคุณสมบัติของ Tc-99m MIBI เปนสารประกอบ Lipophilicmonovalent cationic
สวนประกอบที่สําคัญที่ใชตรวจทางเวชศาสตรนิวเคลียรจาก Cardiolite ในขวด 5 ml ประกอบดวย
1. Tetrakis (2-metoxy isobutyl isonitrile) Copper (I) tetrafluoroborate - 10 mg.
2. Sodium citrare Dihydrate - 2.6 mg.
3. L- cystenine Hydrochloride Menohydrate -1.0 mg.
4. Mannitol – 20 mg.
5. Stannous Chloride, Dihydrate mininum (Sncl2. 2H2o) – 0.025 mg.
6. Stannous Chloride, Dihydrate, (Sncl2. 2H2o) – 0.75 mg.
7. Tin Chloride (stanous and stannac) Dihydrate, maximum (Sncl2. 2H2o) – 0.086 mg.
คุณสมบัติทางกายภาพ
มีการสลายตัวแบบ Isomeric transition
มีครึ่งชีวิต 6.02 ชั่วโมง
ใหรังสีแกมมา 140 keV
จากขอมูลในปจจุบันนี้ พบวา Tc – 99m MIBI สวนใหญจะถูกสะสมอยูในสวนของ Mitochondia มากถึง
90 % สวนที่เหลือจะพบใน Cytoplasm และโครงสรางอื่นๆ ภายในเซลลกลไก Uptake จริงๆ แลวยังไมทราบแนชัด
แตในปจจุบันเชื่อวาการ Uptake ของ Tc - 99m MIBI นั่นขึ้นกับ metabolism ของ tumor โดยมีปจจัยที่สําคัญ
ดังตอไปนี้
1. เชื่อวาเกิดจากความตางศักยไฟฟา (Electropotential gradient) ระหวางประจุบวกใน Tc – 99m
MIBI และประจุลบ Mitochondria
2. ปริมาณเลือด Blood flow ที่เขาไปเลี้ยงกอนมะเร็ง และความสามารถซึมผานของผนังเสนเลือด
capillary ถามีปริมาณมาก การ Uptake ของ Tc - 99m MIBI ก็จะเกิดขึ้นไดมากเซลลที่มีโครงสรางจํานวน
Mitochondria อยูมากก็จะพบวามีการสะสมของ Tc – 99m MIBI อยูมาก
3. อาศัยความสามารถของผนังของ Mitochondria (Transmembrane effect) ถาพยายามใหมีการผาน
เขาออกของสารไดมาก ก็พบวามีการ uptake ของ Tc - 99m MIBI เพิ่มขึ้น
ปจจัยที่มีผลตอการ Uptake ของ Tc – 99m MIBI
1. Blood flow
2. Lipophilic molecule
3. Net postive molecular charge
4. Mitochondria negative charge (transmembrane potential effect)
5. Mitochondrial density
6. Leakage of immature tumor blood vessels
ดังนั้นจะพบการ uptake ของ Tc – 99m MIBI จะเกิดขึ้นเฉพาะในเซลลที่มีชีวิตเทานั้น ซึ่งจะพบวามี
Activity หรือใหภาพแบบ positive สวนเซลลที่ตายแลวนั้นจะไมพบ Activity จากสารหรือใหภาพที่เปนแบบ
Negative นั่นเองในสวนของเซลลของกอนเนื้องอกมีปริมาณ Mitochondria เปนจํานวนมาก ทําใหพบปริมาณของ
Tc –99m MIBI สะสมอยูมากเชนกัน ซึ่งเปนลักษณะเฉพาะของ Tc – 99m MIBI ตอกอนเนื้องอก รวมทั้งในกอน
เนื้องอกบางชนิดจะมีเลือดมาเลี้ยงมาก และมี blood vessel ที่ไมสมบูรณทําใหมีการซึมผานของ Tc – 99m MIBI
เขามาในกอนเนื้องอกสวนการขับออกของ Tc –99m MIBI จากเซลลนั้นที่พบวาตัวบงชี้ที่สําคัญ คือปริมาณของ
PGP expression ถาปริมาณของ PGP expression ต่ํา สาร Tc –99m MIBI จะถูกขับออกมาไดมาก พบไดใน
กลามเนื้อลาย และกลามเนื้อหัวใจ สวนเนื้อเยื่อที่มี PGP expression สูง ก็พบวาการขับออกจะเกิดขึ้นไดเร็ว พบได
ในตับ และตอมไทรอยด ดังนั้นการประเมินการ Uptake และการ Wash-out ของ Tc –99m MIBI PGP expression
จึงเปนตัวบงชี้สําคัญ และมีรายงานวา Multidrung resistant ซึ่งเปนตัวกระตุนการทํางาน Multidrug resistant
glycoprotein เปนตัว pump Tc – 99m MIBI กลับออกจากเซลล และขัดขวางศักยไฟฟาที่เกิดจาก cell
membrane (effux)ถาทําใหเซลลที่มีปริมาณของ Multidrung resistant glycoprotein อยูมากจะพบการคางอยูของ
Tc – 99m MIBI ไมนาน การขจัดออกจากรางกายนั้นสวนใหญออกทางตับ และไตโดยพบวามี Activity ในลําไส
เล็กหลังฉีด 1 ชั่งโมงนับจากเห็น Activity ในถุงน้ําดี และภายใน 48 ชั่วโมง หลังฉีดยาพบวา 27% Tc – 99m MIBI
ถูกขจัดทางเดินปสสาวะและอีก 33% ออกทางอุจาระ
ในชวงตนป 1990 Tc – 99m MIBI เริ่มมีบทบาทหลากหลายมากขึ้นโดยการนํามาใชถายภาพของกอนเนื้อ
งอกตางๆ โดยใชเปนสารที่เขามาทดแทน Tl – 201 เนื่องจากคุณสมบัติทาง biological คลายกันซึ่งเมื่อกอนนิยมใช
Tl – 201 สรางภาพของโรคพวกนี้ แตมีขอจํากัดหลายอยาง เชน ปริมาณสารที่ใชกับผูปวยใชไดจํากัด เนื่องจาก
ครึ่งชีวิตยาว ทําให photon flux นอย มีราคาแพง และมีลักษณะทางกายภาพอื่นๆ ดอยกวาเมื่อเทียบกับ Tc - 99m
MIBI เขามาแทนบทบาทตรงนี้สวนของ Tl - 201 ไดอยางดี และในปจจุบันนี้ Tc - 99m MIBI ที่เปนที่ยอมรับกัน
อยางกวาขวางในทาง Nuclear Oncology ซึ่งจะเห็นไดจาก Tc - 99m MIBI ไดถูกนํามาใชกันอยางแพรหลายกับ
การสรางภาพทั้งพวกที่เปน benign และ malignant ของปอด มะเร็งที่แพรกระจายมาที่ mediastinal ของปอด
มะเร็งตอมไทรอยด มะเร็งเตานม astrocytoma และเนื้อมะเร็งงอกของเซลลเนื้อที่ Undiffetrentiated
Ostesosarcoma
การถายภาพเอกซเรยธรรมดา Angiography,CT,MRI บอกไดเพียงขนาด และขอบเขตของกอนเนื้องอก
เทานั้น ไมสามารถบอกถึงการตอบสนองตอเคมีบําบัด หรือติดตามผลการรักษาจากการผาตัดได เพราะเปนการ
พยายามมากที่จะแยกระหวาง early recurrence ออกจาก fibrosis หรือ necrosis หลังผาตัดได และ Lesion ที่เปน
แบบ residual ก็ไมสามารถเห็นไดจากการถายภาพเหลานั้น แตลักษณะเหลานี้เห็นไดจากการถายภาพทางเวช
ศาสตรนิวเคลียร (Tl -201, Tc - 99m MIBI scintigraphy) สาร Tl - 201 กับ Tc - 99m MIBI จึงไดถูกนํามาใช
ประเมินประสิทธิภาพของยาเคมีบําบัดมากขึ้น ทั้งหลัง และกอนยาใหยาเคมีบําบัด สามารถชวยแบงเกรดการรักษา
ดวยการผาตัด ดังนั้น Tc - 99m MIBI Scintigraphy อาจจะใชในการทําการถายภาพหลังการรักษาเพื่อประเมิน
กอนเนื้องอกที่ยังเหลืออยู หรือใช confirm การวินิจฉัยในรายที่ผลการตรวจ biopsy เปน negative ซึ่งเปนสาเหตุ
จาก sampling error
ตารางที่ 2 แสดงปริมาณรังสีที่อวัยวะตางๆ เมื่อฉีด Tc-99m MIBI เพื่อทําการสะแนตอมไทรอยด์
ORGAN (rads / 30 miC)
ไต (Kindeys) 2.0
ตอมไทรอยด (thyroid) 0.7
ผนังหัวใจ (Heart wall ) 0.5
ตับ (Liver)0. 6
มาม (Spleen) -
ไขกระดูก (Bone marrow) -
กระดูก (Bone) -
ถุงน้ําดี (Gall bladder) 2.0
อัณฑะ (Testes) 0.3
รังไข (Ovaries) 1.5
สมอง (Brain) -
กระเพาะปสสาวะ (Urinary bladder) 2.0
ลําไสใหญ (Large bowel ) 5.4
เตานม (Breasts) 0.2
ทั่งรางกาย (Whole body) 0.5