วันอังคารที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2550
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับตอมไทรอยด
ตอมไทรอยดเปนตอมไรทอที่ใหญที่สุดในรางกายมนุษย อยูดานลางของคอ น้ําหนักปกติประมาณ 15 ถึง
25 กรัม ซึ่งประกอบดวย Right lobe และ Left lobe เชื่อมติดกันทางดานลาง isthmus ตําแหนงของตอมไทรอยด
ปกติมีดังนี้
1. อยูระดับ Thyroid cartilage (Adam’Apple) และอยูเหนือ supra sternal notch (เปนตําแหนง
anatomical markers ในการตรวจ thyroid scan)
2. อยูหลังกลามเนื้อ sternothyroid และ sternohyroid ในบางคนอาจมี Pyramidal lobe (เปนสวนที่ยัง
เหลืออยูของปลายลางสุดของ embryogenic thyroglossal duct) โดยมักอยูเหนือ left lobe ของตอมไทรอยด
ตอมไทรอยดนั้นจะถูกหอหุมดวย fibrous capsule บางๆ ซึ่งติดอยูกับ pretracheal fascia (false capsule)
และตอมไทรอยดนั้นยังติดอยูกับ cricoid cartilage และ thyroid cartilage อีกดวย ทําใหมีการเคลื่อนที่ขึ้นลงเวลา
กลืนและสั่นเวลาพูด
โครงสรางของตอมไทรอยดและหนาที่(Thyroidstructure and function)
Primary function ของตอมไทรอยด คือ สราง เก็บ และหลั่งไทรอยดฮอรโมน (T3 และ T4) และ calcitonin
โครงสรางของตอมไทรอยดประกอบดวยถุงรี ๆ ที่เรียกวา thyroid ซึ่งมีเซลลอยู 2 ชนิด
1. Follicular cells สราง thyroid – T4 และ triiodothyronine – T3
2. Parafollicular cells สราง calcitonine ทําหนาที่ควบคุมสมดุลยของแคลเซียมและฟอสเฟตในเลือด
ในวัยหมดประจําเดือนจะใชในการรักษาภาวะกระดูกพรุน
ทําหนาที่และบทบาทของตอมไทรอยดฮอรโมน
ไทรอยดฮอรโมนจากตอมไทรอยดมีความสําคัญมากตอเมตาบอลิสมของรางกายทั่วไป มีผลตอการกลั่ง กา
ทําลายฮอรโมนเกือบทุกชนิด ตลอดจนการตอบสนองของรางกายตอฮอรโมนตางๆ ซึ่งสรุปไดคราวๆ ดังนี้
1. เปนฮอรโมนที่มีความจําเปนตอการเจริญเติบโตของรางกายทั่วๆ ไป การเสริมสรางกลามเนื้อการ
เคลื่อนไหว ชวยในการจัดเรียงตัวของเซลลที่อวัยวะตางๆ กระตุนใหเซลลสรางโปรตีนเพิ่มมากขึ้นดวย และทําให
รางกายสะสม ไนโตรเจน แตถามีฮอรโมนมากเกินไปจะมีผลกระตุนการสลายโปรตีน
2. มีความสําคัญและจําเปนมากตอการเจริญเติบโตของกระดูก ซึ่งมีความสําคัญนี้พบไดตั้งแตทารกอยูใน
ครรภ ถาไมไดรับฮอรโมน จะพบความผิดปกติของกระดูกในเด็กอยางชัดเจนการเจริญเติบโตของกระดูก epiphysis
ของฟน และอวัยวะอื่นๆ จะชาผิดปกติ จะเตี้ยแคระ
3. มีผลเปน calorigenic action คือการควบคุมอัตราการเผาพลาญสารอาหารตางๆ ในรางกาย การผลิต
ความรอนและใชพลังงานทําใหเกิดความอบอุนแกรางกาย (calorgenesis) ซึ่งเปนการเรงขบวนการ catabolic เพื่อ
การปรับตัวใหเขากับความรอนหนาว ทําให basal metabolic rate (BMR) เพิ่มสูงขึ้นและกระตุนเพิ่มการให
ออกซิเจน (02 consumption)
4. มีผลกระตุนทุกขั้นตอนของคารโบไฮเดรตเมตาบอลิสม กระตุนการสรางกลูโคส (gluconeogenesis)
การดูดซึมน้ําตาลกลูโคสเพื่อเพิ่มระดับกลูโคสในเลือดเพื่อใชเปนพลังงานเรงขบวนการสลายกลัยโคเจนเปนกลูโคส
(glycogenolysis)
5. ลดการสรางไขมัน (lipolysis) จากเนื้อเยื่อไขมัน และเซลลอื่นๆ เพิ่มขึ้น ทําใหมีกรดไขมันอิสระใน
กระแสโลหิตและถูกเซลลตางๆ นําไปใชพลังงานเพิ่มขึ้น
6. เพิ่มความตองการของวิตามิน และ coenzyme เพื่อใชในกระบวนการเมตาบอลิสมของรางกายจําเปน
สําหรับการสังเคราะหวิตามิน A จาก carotene ถาขาดฮอรโมน การสรางวิตามิน A นอย ผูปวยจะผิวเหลือง
7. มีผลโดยตรงตอการทํางานของระบบประสาทในผูใหญ และมีความจําเปนตอการเจริญเติบโตพัฒนาการ
ของสมองและระบบประสาทของทารกโดยเฉพาะในปแรก ถาขาดฮอรโมนจะผิดปกติ เซลลประสาทจะลดลงทั้ง
ขนาดและจํานวนจะเปนปญญาออน
นอกจากนี้ไทรอยดฮอรโมนยังมีความสําคัญตอระบบสืบพันธุและตอการผลิตน้ํานมดวย และมีผลตอการ
หลั่งฮอรโมน Corticosteroid
การควบคุมการทํางาน
ไทรอยดฮอรโมนถูกควบคุมโดย TSH ซึ่ง TSH มีผลตอการสรางฮอรโมนขณะเดียวกันในระดับ T3, T4 ที่
สูงขึ้นในเลือดจะเปนตัวสื่อกลับไปยับยั้งตอมใตสมองสวนหนาโดยตรงหรือขึ้นไปยับยั้งที่ระดับฮัยโปธาลามัสเพื่อ
ยับยั้งการหลั่ง TRH เพราะ TSH ก็จะถูกควบคุมโดย TRS นอกจากนี้ somatostanin, dopamine จะมีผลยับยั้งการ
หลั่ง TSH ดวย แตระดับ T3, T4ลดลงจะมีการกระตุนฮัยโปธาลามัสใหหลั่ง TRH เพื่อกระตุนการหลั่ง TSH และ TSH จะ
กระตุนสราง T3, T4
เสนเลือดที่หลั่งออกมา Arterial supply of the thyroid gland
ตอมไทรอยดไดรับเลือดแดงมาจาก
1. extenal carotid arteries โดยใหแขนง superior thyroid arteries ไปเลี้ยง superior pole ของตอม
ไทรอยด
2. subclavian arteries โดยใหแขนง inferior thyroid artery เปนแขนงใหเลี้ยง inferior pole ของตอม
ไทรอยด มีความสําคัญทางคลินิกคือ ตอมไทรอยดมีเลือดมาเลี้ยงมาก ถามีการผาตัดตอมไทรอยด อาจเปนสาเหตุ
ที่ทําใหเลือดออกมาได
Venous drainage of the thyroid gland
ประกอบดวยเสนเลือดดํา 3 คู อยูบริเวณผิวหนาตอมไทรอยด
1. superior thyroid veins นําเลือดออกมาจาก superior pole
2. middle thyroid veins นําเลือดออกจากดานขางของตอมไทรอยด โดยทั้ง superior thyroid veins และ
middle thyroid veins เปดเขาสู internal jugular veins
3. inferior thyroid veins นําเลือดออกจาก inferior pole ของตอมไทรอยดและเปดเขาสู brachiocephalic
veins ซึ่ง inferior thyroid veins นี้อยูหนา trachea และอยูใต isthmus จึงอาจเปนสาเหตุที่ทําใหเลือดออกมากได
ระหวางผาตัด tracheotomy
Lymphatic drainage of the thyroid gland
ระบบทางเดินน้ําเหลืองของตอมไทรอยด จะอยูในเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่อยูระหวาง right lobe และ left lobe
โดยอยูรอบๆ เสนเลือดแดงและเชื่อมตอกับทางเดินน้ําเหลืองของ capsule, prelarygeal lymph nodes,
pretracheal และ deep cervical lymph nodes ซึ่งจะเปดเขาสู brachiocephalic lymph nodes หรือเปดเขาสู
thoracic duct โดยตรง
Nerve supply of thyroid gland
เสนประสาทที่มาเลี้ยงตอมไทรอยดมาจาก superior, middle และ inferior cervical suympathetic ganglia
ซึ่งมาจาก cardiac และ laryngeal branches ของ vagus nerver
ขั้นตอนการทํางานของตอมไทรอยด
1. Trapping: โดย Thyroid follicular cells ในตอมไทรอยดจับไอโอดีนในกระแสเลือดในรูปของ iodide ซึ่ง
ดูดซึมจากอาหารและน้ําที่ลําไสเล็กสวนตน เรียกขั้นตอนแรกนี้วา iodide trap
2. Organification: iodide ที่ถูกจับเขาไปนั้นจะถูกเติมออกซิเจนกลายเปนไอโอดีน thyroglobulin ที่เปน
โปรตีนซึ่งมี thyrosine เปนสวนประกอบจะจับไอโอดีนแลวกลายเปน diiodothyrosine (DIT)
3. Coupling: DIT 2 ตัวรวมกันกลายเปน T4และ MIT และ DIT รวมกันกลายเปน T3 ซึ่งทั้ง T4 และ T3
เปนฮอรโมนไทรอยดที่ออกฤทธิ์โดย Bound T4ถูกเก็บอยูใน Thyroid follicular cells ประมาณ 2 – 3 เดือน
83 % ของ T4จะถูกจับอยูกับ Thyroglpbulinไทรอยดฮอรโมนสวนที่เหลือจะอยูในรูปอิสระและพรอมออกฤทธิ์ตอเซลล
4. Hormone Release: จะอยูภายใต Negative Feedback Mechanism เมื่ออยูในกระแสเลือดแลว T3 และT4
จะจับอยูกับโกลบูลิน เปน thyroxine – binding globulin (TBG) ซึ่งโกลบูลิน เปนพลาสมาโปรตีนสวนใหญใน
กระแสเลือด และไปจับกับพลาสมาโปรตีนสวนนอย ซึ่งไดแก albumin และ prealbumin ซึ่งพลาสมาโปรตีนเหลานี้
จะเปนตัวพาฮอรโมนไทรอยดไปยังเนื้อเยื่อตางๆ ซึ่ง T4จะถูกเปลี่ยนเปน T3และ T3จะกระตุนใหเกิดขบวนการ oxidation
ไทรอยดฮอรโมนที่อยูในรูปอิสระนี้เองจะยับยั้งตอมพิทูอิทารีย ไมใหหลั่ง TSH ดังนั้นจึงลดการกระตุนการ
สรางฮอรโมนของตอมไทรอยด
Pathophysiology
ไทรอยดฮอรโมนอาจถูกสรางมากเกินไปหรือนอยเกินไปก็ได
1. Over – Production ทําใหไทรอยดฮอรโมน T3และ T4สูง ซึ่งเรียกวา hyperthyroidism อาการคือ
เหงื่อออกมา ใจสั่น น้ําหนักลด หงุดหงิดงาย และอาจมีตาโปนรวมดวย
2. Under – Production ทําใหไทรอยดฮอรโมน T3และ T4ต่ํา ซึ่งอาจเรียกวา Hypothyroidism
อาการคือ เหนื่อยงายและน้ําหนักเพิ่มมีผลตอหลายๆ อวัยวะความผิดปกติอาจเปนแบบทั้งตอมหรือบางสวนก็ได้
โรคของตอมไทรอยด
Hyperthyroidism
เปนอาการที่เกิดจากตอมไทรอยดทํางานเกิน (มีระดับไทรอยดฮอรโมนสูงกวาปกติ) ซึ่งอาจมีสาเหตุจาก
1. Diffuse toxic goiter หรือ Graves’disease
Goiter เปนภาวะที่ตอมไทรอยดมีขนาดโตขึ้น เรียกวา คอพอก เปนสาเหตุที่พบไดบอยที่สุดของ
hyperthyroidism ในผูหญิงอายุนอยในชวง 3rd& 4thdecades พบในผูหญิงสูงกวาผูชาย 4 – 8 เทา สาเหตุที่
แทจริงในการเกิดโรคยังไมทราบแนนอน แตคิดวาอาจเกิดจาก autoimmune disorder เพราะวาจากการศึกษาใน
หลายสถาบัน สามารถตรวจพบ autoantibodies ในกระแสเลือดของผูปวยกลุมนี้
ผูปวย Graves’disease มักจะมี autoantibodies หลายชนิดอยูในซีรัมซึ่งรวมเรียกวา thyroid stimulating
immunoglobulins (TSI) โดยที่ antibodies เหลานี้จะจับที่ตําแหนงใกลเคียงกับ thyroid stimulating hormones
receptors บน thyroid membrane ทําใหกระตุนการทํางานของตอมไทรอยด
ในโรคนี้การทํางานของตอมไทรอยดจะเปนเอกเทศ (Autonomous) โดยไมอยูภายใตการควบคุมของ
pituitary และ hypothalamus อาการ hyperthyroidism ในผูปวยเกิดจากการสราง thyroid hormones ออกมา
มากกวาปกติ ผูปวยมักจะมาโรงพยาบาลดวยอาการและอาการแสดงของ hyperthyroidism จากการตรวจรางกาย
ผูปวยตอมไทรอยดมักจะมีขนาดโตทั้งสองขางเทาๆ กัน (diffuse enlargement) และมีผิวเรียบ แตในผูปวยบางคน
อาจมีขนาดปกติ ซึ่งอาจจะมีอาการทางตาและผิวหนังรวมดวย เชน ตาโปน
2. Multinodular goiter
เปนโรคตอมไทรอยดที่พบไดบอย เปนอาการคอโตแบบไมสม่ําเสมอเนื่องจากมีกอนขนาดตางๆ กัน พบได
บอยในผูหญิงวัยกลางคน เชื่อกันวามีสาเหตุมาจากการที่มีระดับไทรอยดฮอรโมนลดต่ําลง ซึ่งเปนผลมาจากความ
ผิดปกติในขบวนการสรางฮอรโมนหรือจากการขาดไอโอดีนในอาหารและการรับประทานอาหารที่มี goitogens เปน
สวนประกอบอยูเปนประจํา เมื่อระดับไทรอยดลดลงทําใหมีการหลั่ง thyroid stimulating hormone (TSH) จากตอม
pituitary เพิ่มขึ้นและถาระดับ TSH สูงเปนเวลานานมีผลทําใหเกิดเปนกอนในตอมไทรอยด
อาการ Hypothyroidism ในผูปวยกลุมนี้พบไดนอยมาก แตถาพบมักจะมี underlying มาจาก Hashimoto’s
thyroidism ซึ่งเปน autoimmune disease จากภาพ thyroid scan จะมีลักษณะเฉพาะ คือมีตอมไทรอยดโต และมี
multiple cold warm & hot areas กระจายอยูทั่วๆ ไป ซึ่งมีลักษณะนี้เกิดจากระยะตางๆ ของ thyroid adenomas
ตั้งแต hyperfunctioning ไปจนถึง cystic หรือ degenerative lesions แตในผูปวยบางรายอาจพบวามีตอมไทรอยด
โตและมี diffuse irregular uptake ก็ได
Cold nodules ที่พบใน multinodular gland นี้มีโอกาสที่จะเปนมะเร็งนอยมาก คือ นอยกวา 50% แตถา
พบในผูปวยเด็ก หรือผูปวยที่เคยมีประวัติฉายแสงในบริเวณศีรษะ และคอมากอนโอกาสที่จะพบเปนมะเร็งของตอม
ไทรอยดในผูปวยกลุมนี้จะสูงขึ้น
3. Thyroiditis
เปนสภาวะที่ตอมไทรอยดมีอาการอักเสบโดยมีอาการเจ็บคอ และตอมไทรอยดโตขึ้นรวมกับอาการ
hypertyroid กลุมของโรคนี้ ไดแก acute และ subacute thyroiditis, chronic autoimmune thyroiditis
(Hashimoto’s thyroiditis) และ radiation thyroiditis ที่เกิดภายหลังการรักษาดวยรังสีผูปวยรอยละ 50 ของกลุม
subacute thyroiditis ที่มีอาการอักเสบแบบ non - suppurative พบวามีคา uptake ต่ํามากทําใหไมเห็นตอม
ไทรอยดจากภาพถายรังสีซึ่งตางจากกลุม acute thyroiditis ที่มีอาการอักเสบจากการติดเชื้อไวรัส ภาพถายรังสีของ
ตอมไทรอยดจะมีลักษณะเปน localize area ของ decrease uptake
Hypothyroidism
เปนภาวะที่มีระดับตอมไทรอยดฮอรโมนต่ํากวาปกติอาจมีสาเหตุจาก
1. ความผิดปกติของตอมไทรอยดที่หลั่งฮอรโมนออกมาไมเพียงพอ
2. ภาวะ autoimmune thyroiditis หรือ Hashimoto’s thyroiditis
3. ภาวะการขาดไอโอดีนเปนเวลานานทําใหเกิดเปนคอพอกเพื่อทํางานชดเชยและเปนเหตุทําใหเกิด
สภาวะ hypothyroidism ภายหลัง
4. ความผิดปกติของตอมไทรอยดที่มีมาตั้งแตเกิด
5. ตอม pituitary ถูกทําลายทําใหมีการหลั่ง TSH ลดลง
Thyroid nodule
เปนสภาวะที่ตอมไทรอยดมีกอน แบงออกได 3 ชนิด คือ
1. Cold nodule
จะเห็นเปน focal area of absent หรือ decrease uptake เมื่อเปรียบเทียบกับเนื้อของตอมไทรอยดที่อยู
รอบๆ เปน nodule ที่ไมมีหรือมี function นอยกวาปกติและลักษณะที่ไม specific เพราะอาจเกิดจากพยาธิสภาพ
ไดหลายอยาง
สาเหตุของการเกิด Solitary cold thyroid nodules
1. Collidal cyst พบไดประมาณ 70 – 75 %
2. Carcinoma
พบไดประมาณ 15 – 25 %
3. Adenoma
4. Focal thyroiditis, abcess
5. Hematoma
6. Lymphoma,metastasis
7. Parathyroid adenoma
8. Lymph node enlargement
พยาธิสภาพสวนใหญที่ทําใหเกิด solitary cold thyroid nodule มักจะเปน benign lesion คือ colloidal cyst
และ adenoma ดําเนินการตรวจดวย ultrasound จึงมักจะมีประโยชนมากในการแยกระหวาง benign cystic ออก
จาก solid lesion อื่นๆ และประมาณ 15 – 25 % อาจเกิดจากการ CA thyroid ได โดยเฉพาะถาพบในผูหญิงอายุ
นอยหรือในผูชายทุกวัย นอกจากนี้ยังมี Clinical factors อีกหลายอยาง ที่ทําใหคิดถึง benign หรือ malignacy มาก
ขึ้น เชน เพศ อายุ มีลักษณะของกอนมีตอมน้ําเหลืองโตรวมดวย มีเสียงแหบรวมดวย เปนตน
แตถาผูปวยเคยมีประวัติฉายแสงในบริเวณศีรษะและคอมากอนโอกาสที่ Single cold nodule นั้นจะเปน
malignancy จะเพิ่มขึ้นเปนประมาณ 40 %
2. Hot nodule
เปน Palpable nodule ที่จะเห็นเปน focal area of increase uptake จากภาพสะแกน โดยที่อาจจะเห็น
หรือไมเห็นเนื้อของตอมไทรอยดที่อยูรอบๆ ก็ได
สาเหตุของการเกิด hot nodule
1. Hyperfunction adenoma (s): toxic or nontoxic
2. Carcinoma
พบไดประมาณ 2 %
3. Anatomical variant
4. Hyperfunctioning normal thyroid tissue (compensatory hypertrophy) ใน diseased gland เชน
หลังเปน thyroiditis หรือหลังการรักษาดวยการผาตัดหรือฉายแสง
เนื่องจากวาโอกาสที่ hot nodule จะเปนมะเร็งของตอมไทรอยดนั้นมีนอยมากคือ เพียง
2 % เทานั้น ดังนั้นบางคนจึงถือไดวาพบ hot nodule ใหถือวาเปน benign disease ไวกอน
3. Warm nodule
เปน palpabke nodule ที่มี uptake ไดเทากับหรือนอยกวา normal thyroid tissue ที่อยูรอบๆ เพียง
เล็กนอย ดังนั้นถาเราดูแต thyroid scan เพียงอยางเดียวโดยไมตรวจรางกายผูปวยอาจทําใหเรา missed lesion
ชนิดนี้ก็ได้
สาเหตุของการเกิด Warm nodule
1. Carcinoma พบไดประมาณ 4 %
2. Functioning adenoma ที่มีการทํางานเทากันกับ เนื้อของตอมไทรอยดที่อยูขางเคียง
3. Anatomical variant
4. Cold nodule ที่อยูลึกในเนื้องอกตอมไทรอยด โดยมี normal thyroid tissue คลุมทับอยูดานบนการ
ทํา thyroid scan ในทา oblique อาจจะชวยบอกถึง true nature ของพยาธิสภาพได
Thyroid cancer (มะเร็งตอมไทรอยด)
1. มะเร็งตอมไทรอยดชนิดปาปลลารีย (Papillary)
มะเร็งตอมไทรอยดชนิดปาปลลารีย มีอุบัติการรอยละ 30 – 70 ในอายุระหวาง 5 – 90 ป หรือ เฉลี่ย 45 ป
ประมาณรอยละ 9 เกิดในคนอายุนอย ต่ํากวา 20 ป ประมาณรอยละ 48 มักลุกลามไปยังตอมน้ําเหลืองที่คอ หรือถา
เปนมากอาจลุกลามไปที่ปอด แตมักไมคอยไปอวัยวะอื่นๆ เชน กระดูก สมอง ตับ ถาเปนนอยอาจไมมีอาการ
หรือไมแสดงอาการรุนแรง
มะเร็งมักอยูเฉพาะในกลีบหนึ่งของไทรอยด
หรืออาจขามไปอีกกลีบหนึ่งทางทอ
น้ําเหลือง โดยมากมักเปนกอน ขนาดประมาณ 1.5 เซนติเมตร หรืออาจคลําพบ การแพรกระจายไปยังตอม
น้ําเหลืองที่คอ การพยากรณโรคโดยทั่วไปนับวาดี
2. มะเร็งตอมไทรอยดชนิดฟอลลิคูลาร (Follicular)
มะเร็งตอมไทรอยดชนิดฟอลลิคูลาร มีอุบัติการรอยละ 10 – 40 อาจพบไดบอยในเขตที่ขาดไอโอดีน มะเร็ง
ชนิดฟอลลิคูลารแบงไดเปน 2 ประเภท ตามลักษณะจุลพยาธิ คือ
ชนิดไมรุนแรง (low risk group) มีการแบงตัวของเซลลไดชัดเจน และขึ้นอยูกับคนอายุไมมาก มี
พยากรณโรคดี ยังไมมีเซลลมะเร็งไปรุกลามเขาไปในหลอดเลือด หรือทะลุออกนอกเปลือกของกอนมะเร็ง ซึ่งไม
แตกตางไปจากพวก benign follicular adenoma
ชนิดรุนแรง คือ ฟอลลิคูลารนี้ ในคนอายุมากขึ้น (high risk group) มีการแบงตัวของเซลล ไม
ชัดเจนเทา และมักลุกลามเขาไปในหลอดเลือดและทะลุเปลือกของกอนมะเร็ง
มะเร็งฟอลลิคูลารนี้ จะไมเกิดขึ้นหลายแหง (multicentric) หรือกระจายไปยังตอมน้ําเหลืองที่คออยางมะเร็ง
ชนิดปาปลลารีย (intermediate risk group) แตมักจะลุกลามไปตามเลือดไหลเวียน โดยเฉพาะไปยังกระดูกและ
ปอด แตไมคอยไปสมอง และตับ
เด็กที่เคยไดรับรังสีบริเวณศีรษะและลําคอ เมื่อเติบโตขึ้นเปนผูใหญ เคยพบวากลายเปนมะเร็งของไทรอยด
ชนิดปาปลลารีย และฟอลลิคูลาร มะเร็งชนิดฟอลลิคูลาร มีการแบงตัวของเซลลไดชัดเจนและจับไอโอดีนไดดี จึง
เหมาะกับการรักษาดวยไอโอดีน-131 ในแงการรักษา อาจรวมมะเร็งของตอมไทรอยดชนิดปาปลลารีย และฟอลลิคู
ลารเขาดวยกัน ซึ่งประมาณรอยละ 80 ของเซลลมะเร็งไทรอยดทั้งหมด ประกอบดวยเซลลที่แบงตัวชัดเจน พวก
ฟอลลิคูลาร จะประกอบดวยกอนมะเร็งของฟอลลิคูลารของไทรอยดลวนๆ สวนชนิดปาปลลารีย จะประกอบดวย
เซลลที่จัดเรียงตัวแบบปาปลลารีย และมีโครงสรางฟอลลิคูลารปนอยูดวย เนื่องจากการที่มีสวนเปนฟอลลิคูลาร
ผสมอยูนี้ กอนมะเร็งทั้งสองชนิดจึงมีคุณสมบัติทางเอนโดครายด คลายคลึงกัน แตเดนชัดนอยกวาฟอลลิเคิลของ
ไทรอยด แตถาไดมีการตัดหรือทําลายเนื้อเยื่อของไทรอยดปรกติออกไป หรือมีการกระตุนดวย TSH กอนมะเร็ง
เหลานี้ก็สามารถดูดและสังเคราะหไอโอดีน
คุณสมบัติเหลานี้เองจึงไดนํามาใชทั้งการตรวจหาและรักษาโดยการ
จํากัดมะเร็งตอมไทรอยดดวยไอโอดีน-131
โดยทั่วไปวิธีการรักษามะเร็งตอมไทรอยดชนิดปาปลลารีย และฟอลลิคูลาร ก็มักจะเปนไปในทางเดียวกัน
แตก็มีความเห็นแตกตางกันมา ถาหากวาลักษณะทางจุลพยาธิจึงไมมีการแสดงวาเซลลมะเร็งไดลุกลามเขาไปใน
หลอดเลือด
3. มะเร็งตอมไทรอยดชนิดอะนาพลาสติก (Anaplastic)
มักจะพบบอยในผูสูงอายุ แตเกิดขึ้นไมบอยนัก และไมสนองตอบตอการรักษาใดๆ สวนใหญผูปวยจะถึงแก
กรรมภายใน 6-12 เดือน ไอโอดีน-131 ไมชวยในการรักษา สวนใหญมะเร็งชนิดนี้มักจะปรากฏวาเปนอะนา
พลาสติกการรักษาก็ไดผลการประทังเทานั้น บางครั้งมะเร็งอะนา-พลาสติก อาจจะมีฟอลลิคูลารปนอยูดวย ซึ่ง
อาจจะสนองตอบตอไอโอดีน-131 แตไมไดทําใหการพยากรณโรคดีขึ้น เพราะวามีสวนประกอบเปนอะนาพลาสติก
นั่นเอง
4. มะเร็งตอมไทรอยดชนิดเมดัลลารีย (Medullary)
เปนมะเร็งของพาราฟอลลิคูลารหรือ ซี.เซลล ของตอมไทรอยด ซึ่งมีสวนสําคัญ 3 ประการ คือ
1. เกิดขึ้นเปนครั้งคราวสืบเนื่องทางพันธุกรรม เปน autosomal dominant รวมกับการมีฟโอรโครโมซัย
โตมา (pheochromocytomao) และพาราไทรอยดอะดีโนมา
2. มะเร็งชนิดนี้หลั่งแคลซิโตนิน ซึ่งวัดไดในหลอดเลือดดวยเรดิโออิมมูโนเอสเสย
3. มักมีอาการ และอาการแสดง คือ ทองรวง หนาแดงเวลาดื่มสุรา มีนิวโรมา ที่เยื่อบุ และมีลักษณะ
คลายมารแฟน ซินโดรม (Marfan synrome)
ตารางที่ 1 ลักษณะชนิดของเซลลมะเร็งของตอมไทรอยด
ชนิดของเซลลมะเร็งตอมไทรอยด
อุบัติการเกิด
Papillary 65 %
Follicular 12 %
Medullary10 %
Anaplastic (Lymphoma) 5 %
ความเสี่ยงที่จะเปนมะเร็ง
1. อายุ นอยกวา 20 ป มากกวา 40 ป
2. เพศชาย
3. ประวัติครอบครัวเปนตอมไทรอยด
4. เคยได Ionization radiation
5. มี Compression symptom เชน เสียงแหบ
6. กอนโตเร็ว
7. มี Lymph node โต
การวินิจฉัยโรคมะเร็งที่ตอมไทรอยดโดยการสะแกน
Tc – 99m MIBI (2 – Methoxylisobutylisonitrile)
ถูกแนะนําขึ้นครั้งแรกในงานเวชศาสตรนิวเคลียร
จากการศึกษาการทํางานของกลามเนื้อหัวใจแบบ
Perfusion โดยคุณสมบัติของ Tc-99m MIBI เปนสารประกอบ Lipophilicmonovalent cationic
สวนประกอบที่สําคัญที่ใชตรวจทางเวชศาสตรนิวเคลียรจาก Cardiolite ในขวด 5 ml ประกอบดวย
1. Tetrakis (2-metoxy isobutyl isonitrile) Copper (I) tetrafluoroborate - 10 mg.
2. Sodium citrare Dihydrate - 2.6 mg.
3. L- cystenine Hydrochloride Menohydrate -1.0 mg.
4. Mannitol – 20 mg.
5. Stannous Chloride, Dihydrate mininum (Sncl2. 2H2o) – 0.025 mg.
6. Stannous Chloride, Dihydrate, (Sncl2. 2H2o) – 0.75 mg.
7. Tin Chloride (stanous and stannac) Dihydrate, maximum (Sncl2. 2H2o) – 0.086 mg.
คุณสมบัติทางกายภาพ
มีการสลายตัวแบบ Isomeric transition
มีครึ่งชีวิต 6.02 ชั่วโมง
ใหรังสีแกมมา 140 keV
จากขอมูลในปจจุบันนี้ พบวา Tc – 99m MIBI สวนใหญจะถูกสะสมอยูในสวนของ Mitochondia มากถึง
90 % สวนที่เหลือจะพบใน Cytoplasm และโครงสรางอื่นๆ ภายในเซลลกลไก Uptake จริงๆ แลวยังไมทราบแนชัด
แตในปจจุบันเชื่อวาการ Uptake ของ Tc - 99m MIBI นั่นขึ้นกับ metabolism ของ tumor โดยมีปจจัยที่สําคัญ
ดังตอไปนี้
1. เชื่อวาเกิดจากความตางศักยไฟฟา (Electropotential gradient) ระหวางประจุบวกใน Tc – 99m
MIBI และประจุลบ Mitochondria
2. ปริมาณเลือด Blood flow ที่เขาไปเลี้ยงกอนมะเร็ง และความสามารถซึมผานของผนังเสนเลือด
capillary ถามีปริมาณมาก การ Uptake ของ Tc - 99m MIBI ก็จะเกิดขึ้นไดมากเซลลที่มีโครงสรางจํานวน
Mitochondria อยูมากก็จะพบวามีการสะสมของ Tc – 99m MIBI อยูมาก
3. อาศัยความสามารถของผนังของ Mitochondria (Transmembrane effect) ถาพยายามใหมีการผาน
เขาออกของสารไดมาก ก็พบวามีการ uptake ของ Tc - 99m MIBI เพิ่มขึ้น
ปจจัยที่มีผลตอการ Uptake ของ Tc – 99m MIBI
1. Blood flow
2. Lipophilic molecule
3. Net postive molecular charge
4. Mitochondria negative charge (transmembrane potential effect)
5. Mitochondrial density
6. Leakage of immature tumor blood vessels
ดังนั้นจะพบการ uptake ของ Tc – 99m MIBI จะเกิดขึ้นเฉพาะในเซลลที่มีชีวิตเทานั้น ซึ่งจะพบวามี
Activity หรือใหภาพแบบ positive สวนเซลลที่ตายแลวนั้นจะไมพบ Activity จากสารหรือใหภาพที่เปนแบบ
Negative นั่นเองในสวนของเซลลของกอนเนื้องอกมีปริมาณ Mitochondria เปนจํานวนมาก ทําใหพบปริมาณของ
Tc –99m MIBI สะสมอยูมากเชนกัน ซึ่งเปนลักษณะเฉพาะของ Tc – 99m MIBI ตอกอนเนื้องอก รวมทั้งในกอน
เนื้องอกบางชนิดจะมีเลือดมาเลี้ยงมาก และมี blood vessel ที่ไมสมบูรณทําใหมีการซึมผานของ Tc – 99m MIBI
เขามาในกอนเนื้องอกสวนการขับออกของ Tc –99m MIBI จากเซลลนั้นที่พบวาตัวบงชี้ที่สําคัญ คือปริมาณของ
PGP expression ถาปริมาณของ PGP expression ต่ํา สาร Tc –99m MIBI จะถูกขับออกมาไดมาก พบไดใน
กลามเนื้อลาย และกลามเนื้อหัวใจ สวนเนื้อเยื่อที่มี PGP expression สูง ก็พบวาการขับออกจะเกิดขึ้นไดเร็ว พบได
ในตับ และตอมไทรอยด ดังนั้นการประเมินการ Uptake และการ Wash-out ของ Tc –99m MIBI PGP expression
จึงเปนตัวบงชี้สําคัญ และมีรายงานวา Multidrung resistant ซึ่งเปนตัวกระตุนการทํางาน Multidrug resistant
glycoprotein เปนตัว pump Tc – 99m MIBI กลับออกจากเซลล และขัดขวางศักยไฟฟาที่เกิดจาก cell
membrane (effux)ถาทําใหเซลลที่มีปริมาณของ Multidrung resistant glycoprotein อยูมากจะพบการคางอยูของ
Tc – 99m MIBI ไมนาน การขจัดออกจากรางกายนั้นสวนใหญออกทางตับ และไตโดยพบวามี Activity ในลําไส
เล็กหลังฉีด 1 ชั่งโมงนับจากเห็น Activity ในถุงน้ําดี และภายใน 48 ชั่วโมง หลังฉีดยาพบวา 27% Tc – 99m MIBI
ถูกขจัดทางเดินปสสาวะและอีก 33% ออกทางอุจาระ
ในชวงตนป 1990 Tc – 99m MIBI เริ่มมีบทบาทหลากหลายมากขึ้นโดยการนํามาใชถายภาพของกอนเนื้อ
งอกตางๆ โดยใชเปนสารที่เขามาทดแทน Tl – 201 เนื่องจากคุณสมบัติทาง biological คลายกันซึ่งเมื่อกอนนิยมใช
Tl – 201 สรางภาพของโรคพวกนี้ แตมีขอจํากัดหลายอยาง เชน ปริมาณสารที่ใชกับผูปวยใชไดจํากัด เนื่องจาก
ครึ่งชีวิตยาว ทําให photon flux นอย มีราคาแพง และมีลักษณะทางกายภาพอื่นๆ ดอยกวาเมื่อเทียบกับ Tc - 99m
MIBI เขามาแทนบทบาทตรงนี้สวนของ Tl - 201 ไดอยางดี และในปจจุบันนี้ Tc - 99m MIBI ที่เปนที่ยอมรับกัน
อยางกวาขวางในทาง Nuclear Oncology ซึ่งจะเห็นไดจาก Tc - 99m MIBI ไดถูกนํามาใชกันอยางแพรหลายกับ
การสรางภาพทั้งพวกที่เปน benign และ malignant ของปอด มะเร็งที่แพรกระจายมาที่ mediastinal ของปอด
มะเร็งตอมไทรอยด มะเร็งเตานม astrocytoma และเนื้อมะเร็งงอกของเซลลเนื้อที่ Undiffetrentiated
Ostesosarcoma
การถายภาพเอกซเรยธรรมดา Angiography,CT,MRI บอกไดเพียงขนาด และขอบเขตของกอนเนื้องอก
เทานั้น ไมสามารถบอกถึงการตอบสนองตอเคมีบําบัด หรือติดตามผลการรักษาจากการผาตัดได เพราะเปนการ
พยายามมากที่จะแยกระหวาง early recurrence ออกจาก fibrosis หรือ necrosis หลังผาตัดได และ Lesion ที่เปน
แบบ residual ก็ไมสามารถเห็นไดจากการถายภาพเหลานั้น แตลักษณะเหลานี้เห็นไดจากการถายภาพทางเวช
ศาสตรนิวเคลียร (Tl -201, Tc - 99m MIBI scintigraphy) สาร Tl - 201 กับ Tc - 99m MIBI จึงไดถูกนํามาใช
ประเมินประสิทธิภาพของยาเคมีบําบัดมากขึ้น ทั้งหลัง และกอนยาใหยาเคมีบําบัด สามารถชวยแบงเกรดการรักษา
ดวยการผาตัด ดังนั้น Tc - 99m MIBI Scintigraphy อาจจะใชในการทําการถายภาพหลังการรักษาเพื่อประเมิน
กอนเนื้องอกที่ยังเหลืออยู หรือใช confirm การวินิจฉัยในรายที่ผลการตรวจ biopsy เปน negative ซึ่งเปนสาเหตุ
จาก sampling error
ตารางที่ 2 แสดงปริมาณรังสีที่อวัยวะตางๆ เมื่อฉีด Tc-99m MIBI เพื่อทําการสะแนตอมไทรอยด์
ORGAN (rads / 30 miC)
ไต (Kindeys) 2.0
ตอมไทรอยด (thyroid) 0.7
ผนังหัวใจ (Heart wall ) 0.5
ตับ (Liver)0. 6
มาม (Spleen) -
ไขกระดูก (Bone marrow) -
กระดูก (Bone) -
ถุงน้ําดี (Gall bladder) 2.0
อัณฑะ (Testes) 0.3
รังไข (Ovaries) 1.5
สมอง (Brain) -
กระเพาะปสสาวะ (Urinary bladder) 2.0
ลําไสใหญ (Large bowel ) 5.4
เตานม (Breasts) 0.2
ทั่งรางกาย (Whole body) 0.5
ระบบต่อมไร้ท่อ
Endocrine system
ต่อมไทรอยด์ (thyroid gland)
ต่อมไทรอยด์เป็นต่อมคู่ มีตำแหน่งอยู่แต่ละข้างของหลอดลมใกล้กับกล่องเสียง โดยทั่วไป
อาจจะมีเนื้อต่อมที่เป็นตัวเชื่อมกลีบทั้งสองข้างเข้าด้วยกันเรียกว่า isthmus ต่อมไทรอยด์แต่ละข้าง
จะมีเยื่อหุ้มเรียกว่า capsules ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่มาหุ้มโดยรอบ ภายในจะมีส่วนยื่นเรียกว่า
septa หรือ trabecular ทำหน้าที่แบ่งเนื้อต่อมออกเป็นกลีบเล็กๆ เพื่อเป็นทางผ่านของเส้นเลือด
เส้นประสาทและเส้นน้ำเหลือง แต่ละกลีบของเนื้อต่อมไทรอยด์ประกอบด้วยเซลล์เดี่ยวๆเรียงกัน
เป็นรูปวงกลมหรือรูปไข่เรียกว่า ฟอร์ลิเคิล (follicle หรือ acini) ซึ่งเป็นหน่วยเล็กที่สุดของต่อม ทำ
หน้าที่สังเคราะห์และหลั่งฮอร์โมนไทร๊อกซิน (thyroxin) รอบๆฟอร์ลิเคิลจะมีเส้นเลือดฝอยแทรก
อยู่ทั่วไป เซลล์เดี่ยวๆที่ประกอบเป็นฟอร์ลิเคิลจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างจากเซลล์รูปลูกบากศ์
(cuboidal) เป็นเซลล์รูปสี่เหลี่ยมทรงสูงหรือรูปแท่ง (columnar) ในขณะที่เซลล์กำลังทำหน้าที่
หลั่งฮอร์โมน การสังเคราะห์ฮอร์โมนจะเกิดขึ้นในเซลล์ แต่หลังจากสังเคราะห์แล้วจะเก็บสะสม
ฮอร์โมนไว้ในช่องว่างของฟอร์ลิเคิล
ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์มี 2 ชนิดคือ ไทร๊อกซิน(thyroxin) หรือ tetraiodothyronin (T4 )
และ triiodothyronine (T3) ฮอร์โมนทั้งสองชนิดนี้จะมีธาตุไอโอดีนเป็นส่วนประกอบหลัก ซึ่ง
ได้มาจากอาหารในรูปไอโอไดด์ (iodide,I-) iodide จากอาหารที่มากับเลือดโดยเกาะมากับโปรตีน
ในเลือด (protein bound iodine)จะเข้าสู่ต่อมไทรอยด์โดยเซลล์เดี่ยวๆที่ประกอบเป็นฟอร์ลิเคิลจะ
ดึง iodide ไว้ ภายในฟอร์ลิเคิล iodide จะถูกเปลี่ยนให้เป็นไอโอดีน (iodine)โดยขบวนการออกซิ
เดชั่น ธาตุไอโอดีนจะไปเกาะกับกรดอะมิโนไทโรซีน (tyrosine) ทำให้เกิดเป็นสารประกอบพวก
MIT (monoiodothyronine) หรือ DIT (diiodothyrinine) จากนั้นจึงเกิดการรวมตัวกันของ MIT กับ
DIT หรือ DIT กับ DIT ได้เป็น triiodothyronine หรือ thyroxin ซึ่งจะถูกนำไปเก็บสะสมไว้ที่
colloid ตรงช่องว่างของฟอร์ลิเคิล โดยจะอยู่รวมกับโปรตีนไทโรโกลบูลลิน (thyroglobulin) เมื่อ
ได้รับการกระตุ้นจาก TSH (thyroid stimulating hormone) จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ฟอร์ลิเคิล
จะหลั่งฮอร์โมนออกมาจากช่องว่างเพื่อเข้าสู่กระแสเลือด โดยจะหลั่งออกมาพร้อมกับไทโรโกลบู
ลิน เรียกว่า thyroid binding globulin ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์มีหน้าที่ต่างๆเช่นมีผลต่อเมตาโบ
ลิซึมของโภชนะเช่นคาร์โบไฮเดรท โดยจะมีผลเพิ่มการดูดซึมของกลูโคสที่ผนังลำไส้ และเพิ่มการ
เปลี่ยนสารอื่นให้เป็นกลูโคสโดยผ่านขบวนการ gluconeogenesis ทำให้มีปริมาณกลูโคสที่จะ
นำไปใช้ประโยชน์ในเซลล์ต่างๆของร่างกายเพิ่มมากขึ้น การหลั่งไทร๊อกซินมากจะทำให้เกิด
ปริมาณน้ำตาลสูงในเลือด (hyperglycemia) และมีผลทำให้มีการขับปัสสาวะที่มีน้ำตาลในปริมาณ
สูงด้วย (glucouria) มีผลต่อเมตาโบลิซึมของไขมัน โดยการเพิ่มการสร้างเนื้อเยื่อไขมัน เพื่อนำ
ไขมันมาใช้เป็นแหล่งพลังงานในร่างกาย สภาวะนี้จะเกิดขึ้นได้มากถ้าสัตว์ขาดแหล่งคาร์โบไฮเดรท
ในอาหารมีผลต่อขบวนการเมตาโบลิซึมของโปรตีน ในการหลั่งไทร๊อกซินในระดับปกติจะมีผลให้
เกิดการสังเคราะห์โปรตีนในร่างกายเพิ่มขึ้น แต่ถ้าฮอร์โมนหลั่งออกมามากกว่าปกติจะมีผลให้เกิด
การสลายตัวของโปรตีนในกล้ามเนื้อได้ เกี่ยวข้องกับการกระตุ้นให้เซลล์มีการใช้ออกซิเจนมากขึ้น
หรือเพิ่ม BMR (basal metabolic rate) โดยเฉพาะในเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ ตับ ไต ตับอ่อน และ
ต่อมน้ำลาย มีผลต่อการเจริญเติบโตและการพัฒนาร่างกายในสัตว์ปกติ โดยจะทำงานร่วมกับ GH
เกี่ยวข้องกับการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย โดยการเพิ่มการทำงานของกล้ามเนื้อ และการทำงาน
ของระบบประสาท sympathetic ทำให้เกิดการหดตัวของหลอดเลือดเพื่อลดอัตราการสูญเสียความ
ร้อนออกจากร่างกายมีผลต่อการเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ ทำให้การสูบฉีดเลือดเพื่อไปเลี้ยงส่วน
ต่างๆของร่างกายเพิ่มมากขึ้น
กลไกในการควบคุมการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ จะถูกควบคุมโดยฮอร์โมนจาก
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า และสมองส่วนไฮโปธาลามัส การหลั่งฮอร์โมนจะเป็นแบบการควบคุมแบบ
ยับยั้งย้อนกลับ (negative feed back) โดย TSH จะถูกยับยั้งให้หลั่งน้อยลงเมื่อระดับความเข้มข้น
ของฮอร์โมนไทร๊อกซินในเลือดเพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้การหลั่ง TSH ยังถูกควบคุมโดย TRH จาก
สมองส่วนไฮโปธาลามัส ทั้งนี้รวมถึงระดับไอโอไดด์ในเลือดด้วย
ต่อมพาราไทรอยด์ (parathyroid gland)
ต่อมพาราไทรอยด์เป็นต่อมที่อยู่ใกล้กับต่อมไทรอยด์ จำนวนและตำแหน่งของต่อมจะ
แตกต่างกันไปตามชนิดของสัตว์ สัตว์บางชนิดต่อมพาราไทรอยด์จะยังคงติดอยู่กับเนื้อของต่อม
ไทรอยด์ เช่นม้า แต่ในสัตว์เคี้ยวเอื้อง และสุกร ต่อมพาราไทรอยด์จะมีตำแหน่งอยู่ด้านหน้าของ
ต่อมไทรอยด์ เนื้อของต่อมพาราไทรอยด์จะประกอบด้วยเซลล์ 2 ประเภทคือ chief cell และ
oxyphil cell เซลล์ส่วนใหญ่ของต่อมพาราไทรอยด์คือ chief cell ทำหน้าที่ในการหลั่ง
parathyroid hormone (PTH) เป็นฮอร์โมนพวกเปปไทด์ มีกรดอะมิโนเป็นองค์ประกอบประมาณ
84 ตัว อวัยวะเป้าหมายคือ กระดูก ไต และระบบทางเดินอาหาร ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ มี
หน้าที่โดยตรงต่อกระดูก ทำให้กระดูกปลดปล่อย Ca++ ออกมา ทำให้ Ca++ ในเลือดเพิ่มขึ้น การ
ปลดปล่อย Ca++ ของกระดูกจะมีผลให้มีการปลดปล่อย PO4
- ด้วย ทำให้เลือดเกิดสภาวะ
hypercalcemia และ hyperphosphatemia นอกจากนี้ยังทำให้มีการดูดซึม Ca++ ที่ลำไส้เล็ก โดย
เพิ่ม 1,25-dihydroxycholecalciferol และมีผลต่อการเพิ่มการดูดซึมกลับของ Ca++ ในส่วนของ
หลอดไตส่วนปลาย (distal convoluted tubule) ทำให้ Ca++ ที่ปนมากับปัสสาวะลดลงเกิดสภาวะ
hypocalciuria แต่จะไปเพิ่มการขับออกของ PO4
- ที่หลอดไตมีผลให้ระดับ PO4
- ในเลือดลดลง
กลไกการควบคุมการหลั่ง PTH เป็นกลไกแบบยับยั้งย้อนกลับ โดยใช้ระดับความเข้มข้น
ของ Ca++ในเลือด เมื่อ Ca++ ในเลือดสูงขึ้นจะมีผลให้ PTH หลั่งลดลง แต่เมื่อ Ca++ ลดลง PTH จะ
หลั่งออกมามากขึ้น โดยทั่วไปการทำงานของ PTH จะทำงานร่วมกันกับฮอร์โมนแคลซิโทนิน
(calcitonin) จากต่อมไทรอยด์
ฮอร์โมนแคลซิโทนิน (calcitonin) เป็นฮอร์โมนที่ผลิตจาก C- cell (parafollicular cell) ที่
อยู่ข้างๆฟอร์ลิเคิลในต่อมไทรอยด์ เป็นฮอร์โมนประเภทโพลิเปปไทด์ มีหน้าที่ในการควบคุมระดับ
แคลเซี่ยมในเลือดเช่นเดียวกับฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ แต่จะทำงานเมื่อระดับของCa++ ใน
เลือดสูงกว่าปกติ โดยไปยับยั้งการสลายตัวของกระดูกโดยเซลล์ osteoblastsและการดูดซึม Ca++
โดยเซลล์ osteoclast นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์ในการเพิ่มการดูดซึมของโมเลกุลน้ำและเกลือแร่ใน
ปัสสาวะเช่น Na+ ,Ca++ , PO4
- และลดการหลั่งของ HCl ในน้ำย่อย ที่กระเพาะอาหาร
กลไกในการควบคุมการทำงานของแคลซิโทนิน เกิดจากระดับ Ca++ ในเลือดที่สูงขึ้น จะมี
ผลให้ฮอร์โมนแคลซิโทนินถูกหลั่งอกมาจาก C-cell ของต่อมไทรอยด์มากขึ้น โดยไม่ผ่านสมอง
ส่วนไฮโปธาลามัสและต่อมใต้สมอง
อ่านทั้งหมด
วันจันทร์ที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2550
การกำหนดค่าต่างๆ ให้กับเครื่อง Pocket PC
ในส่วนของ Settings จะแบ่งออกเป็น 3 ส่วนด้วยกัน คือ ส่วนของ Personal, System และ Connections
-
Settings: Personal
ส่วนของ Buttons นั้นจะเป็นการปรับเปลี่ยน Hardware Buttons ทั้งสี่ปุ่มให้เรียกเปิดโปรแกรมตามที่เราต้องการ ในกรณีที่เราอาจจะมีโปรแกรมหนึ่งโปรแกรมใดที่เปิดเรียกใช้บ่อยเป็นพิเศษ เราก็สามารถที่จะเข้ามากำหนดในส่วนนี้ได้
ส่วนของ Input จะเป็นส่วนที่เรากำหนดค่าให้กับการใส่ข้อมูลโดยวิธีต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ในส่วนของ Keyboard, Transcriber หรือแม้กระทั่งในส่วนของการใส่ข้อมูลภาษาไทย นอกจากนี้ เรายังสามารถเข้าไปกำหนดค่าเกี่ยวกับคำศัพท์แนะนำ (Suggested Words) หรือในส่วนของความละเอียดในการบันทึกข้อมูลด้วยเสียงได้
ส่วนของ Menus จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนก็คือ Start Menu และ New Menu
Start Menu จะเป็นส่วนที่กำหนดโปรแกรมให้อยู่ในส่วนของ Start Menu ซึ่งเราสามารถเลือกโปรแกรมให้แสดงในส่วน Start Menu ได้มากสุด 9 โปรแกรม
New Menu จะเป็นการกำหนดให้ปุ่ม New เปิดไฟล์ขึ้นมาใหม่สำหรับโปรแกรมที่เราได้เลือกไว้ (ปุ่ม New จะอยู่ด้านล่างซ้ายมือในส่วนของ Today)
ส่วนของ Owner Information จะเป็นส่วนที่กำหนดรายละเอียดของเจ้าของเครื่อง ก็คือรายละเอียดของตัวเรานั่นเอง เรายังสามารถกำหนดให้ส่วนนี้แสดงขึ้นมาทุกครั้งที่เปิดเครื่องได้ เผื่อว่าในกรณีที่เราลืมเครื่องทิ้งไว้ จะได้มีผู้มีจิตศรัทธาสามารถนำเครื่องมาคืนให้กับเราได้ถูกต้องครับ
ส่วน Password จะเป็นระบบรักษาความปลอดภัย เมื่อเรากำหนดระยะเวลาที่เครื่องถูกทิ้งไว้โดยไม่ได้ใช้งาน พร้อมทั้งกำหนด Password เอาไว้ เมื่อถึงเวลาที่กำหนด เครื่องก็จะเข้าสู่ระบบรักษาความปลอดภัยทันที เมื่อเราต้องการจะใช้เครื่องอีกครั้ง ก็ต้องใส่ Password ที่เราตั้งเอาไว้ให้ถูกต้อง
ส่วนของ Sounds & Notifications จะเป็นการกำหนดเกี่ยวกับเสียงของระบบ ไม่ว่าจะเป็นความดัง, รายละเอียดของส่วนที่ต้องการให้ระบบเสียงทำงาน หรือการปรับลักษณะของเสียงต่างๆ ตามหน้าที่ของระบบ
ส่วนของ Today จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ Appearance และ Items
Appearance: จะเป็นการกำหนด Background หรือ Theme ให้กับส่วนของ Today
Items: จะเป็นการกำหนดรายละเอียดต่างๆ ที่เราต้องการให้ปรากฎอยู่ในหน้าจอ Today
Settings: System
| |
ในส่วนของ About จะเป็นส่วนที่บอกรายละเอียดเกี่ยวกับ Version, Device ID และ Copyrights ซึ่งเราสามารถที่จะกำหนดชื่อการ Sync ได้จากส่วนของ About (Device ID) ด้วย
ในส่วนของ Asset Viewer จะเป็นส่วนที่บอกรายละเอียดต่างๆ ของเครื่อง ไม่ว่าจะเป็น Identity, Memory, Version, Display, System หรือ Bluetooth ก็ตาม
ในส่วนของ Backlight จะแบบออกเป็น 3 ส่วนด้วยกัน คือ
Battery Power: เราสามารถที่จะเข้าไปกำหนดระยะเวลาสำหรับการทำงานของ Backlight รวมถึงการตั้งค่าให้ Backlight ทำงาน เมื่อมีการสัมผัสที่หน้าจอ
External Power: การกำหนดค่าต่างๆ ในส่วนนี้จะเหมือนกับ Battery Power เลย เพียงแต่ว่าการกำหนดค่าต่างๆ ในส่วนนี้ จะมีผลก็ต่อเมื่อเครื่อง Pocket PC ของเรากำลัง Charge ไฟอยู่บน Cradle
Brightness: การกำหนดความสว่างให้กับเครื่อง Pocket PC เมื่อเครื่องอยู่นอกสถานที่ หรือ Charge ไฟ อยู่บน Cradle
ในส่วนของ Bluetooth จะมี Tab ให้เรากำหนดค่าต่างๆ มากมาย แต่ก็ขอพูดถึงที่สำคัญ 3 Tab ก็คือ
Accessibility: เราสามารถที่จะกำหนดชื่อ Pocket PC ได้ เมื่อเครื่องของคนอื่นใช้ Bluetooth ค้นหาเจอเครื่องของเรา ชื่อนี้ก็จะไปปรากฎบนหน้าจอของเครื่องที่ค้นหาเราอยู่ เพราะหากเราไม่ได้เปลี่ยนชื่อตรงนี้แล้ว อาจจะทำให้คนที่ค้นหาสับสนได้ง่ายๆ ว่าเครื่องไหนเป็นของใคร เพราะตาม Default แล้วจะใช้เป็นชื่อ Pocket_PC ทุกเครื่อง เท่าที่สังเกตจากงาน Meeting หลายครั้งที่เพื่อนๆ ไม่ได้เปลี่ยนชื่อตรงนี้ เวลาที่ใช้ Bluetooth เพื่อค้นหาเครื่องที่เราต้องการ ชื่อ Pocket_PC จะปรากฎขึ้นมามากมาย จนทำให้เกิดความสับสนได้ ดังนั้น เราควรที่จะตั้งชื่อของเราไว้นะครับ
File Transfer: เป็นการกำหนด Folder สำหรับที่จะเก็บไฟล์ต่างๆ ที่ได้รับจากการแลกเปลี่ยนทาง Bluetooth
Information Exchange: เป็นการกำหนด Business Card สำหรับการแลกเปลี่ยนผ่านทาง Bluetooth
ส่วนของ ClearType Tuner จะเป็นการกำหนดความคมชัดของตัวอักษร เมื่อเลือกคำสั่งนี้แล้ว เราจะต้องไปติ๊กคำสั่ง Enable ClearType ในส่วนของ Screen ด้วยเพื่อเปิดให้เครื่องสามารถใช้คำสั่ง ClearType Tuner นี้
ส่วนของ Clock นี้จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
Time: จะเป็นการตั้งเวลาท้องถิ่น (Home) และเมืองที่เราจะเดินทาง (Visiting) ประโยชน์ก็คือ เราสามารถที่จะสลับไปมาระหว่างเวลาของทั้งสองเมืองได้อย่างง่ายดาย
Alarms: เป็นการตั้งเวลาเตือน ซึ่งเราสามารถเลือกที่จะตั้งเตือนได้หลายวันพร้อมกันภายในหนึ่งสัปดาห์
ในส่วนของ iPAQ Audio จะเป็นการกำหนดเสียงทุ้มเสียงแหลมให้กับ Headphone ดังนั้นในกรณีที่เราใช้ฟังเพลงจากลำโพงที่มากับเครื่องแล้ว เราไม่ควรที่จะปรับเสียงทุ้มเสียงแหลมให้มากเกินไป ไม่เช่นนั้นแล้ว อาจจะทำให้ลำโพงจากเครื่องเสียหายได้ง่ายๆ นอกจากนี้แล้ว เรายังสามารถกำหนดค่าต่างๆ ให้กับ Microphone ได้จากส่วนนี้อีกด้วย
ปุ่ม iTask ค่อนข้างจะเป็นปุ่มอัจฉริยะเลยทีเดียว เพราะเพียงปุ่มนี้ปุ่มเดียว เราสามารถที่จะเลือกเปิดโปรแกรมต่างๆ ได้ ในส่วนของ iTask Settings นั้น เราสามารถที่จะกำหนดได้ว่า เราต้องให้โปรแกรมไหนให้แสดงอยู่ในส่วนใดใน 3 ส่วน เพื่อที่เราสามารถจะเรียกโปรแกรมต่างๆ ขึ้นมาได้ง่ายๆ จากปุ่ม iTask นี้
ในส่วนของ Memory จะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
Main: จะเป็นส่วนที่แสดงถึง Memory ซึ่งตาม Default แล้ว Memory ของเครื่องจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนเท่าๆ กัน คือ ส่วนที่ไว้เก็บโปรแกรม (Storage) กับส่วนที่ไว้สำหรับการทำงานของเครื่อง (Program) ซึ่งถ้าในส่วนของ Program เหลือหน่วยความจำน้อย ก็อาจจะทำให้เครื่องทำงานได้ช้า หรืออาจจะทำให้เครื่องแฮงค์ง่าย ดังนั้น ถ้าโปรแกรมส่วนมากถูก Install ไว้ใน Memory Card แล้ว เราอาจจะเลื่อนแถบนี้ให้ส่วนของ Program มีหน่วยความจำมากขึ้นก็ได้ จะช่วยให้การทำงานของเครื่องเร็วขึ้น
Storage Card: จะเป็นรายละเอียดเกี่ยวกับหน่วยความจำของ Memory Card ที่เราใช้อยู่
Running Programs: จะเป็นส่วนที่แสดงรายชื่อโปรแกรมที่ถูกเปิดใช้งานอยู่ เราสามารถที่จะปิดโปรแกรมที่ไม่ได้ใช้งานได้จากหน้าต่างนี้
ส่วนของ Power จะเป็นส่วนที่แสดงถึงแถบสถานะของ Battery และเป็นส่วนที่เราสามารถกำหนดระยะเวลาให้เครื่องปิดเองโดยอัตโนมัติ
ในส่วนของ Regional Settings จะเป็นการกำหนดค่าต่างๆ ที่จะให้แสดงผลบนเครื่อง ไม่ว่าจะเป็นส่วนของภาษา, ตัวเลข, ค่าเงิน, เวลา และวัน
ส่วน Remove Programs คือส่วนที่ใช้สำหรับการ Uninstall โปรแกรมที่เราไม่ต้องการใช้งานออกจากเครื่อง
ส่วนของ Screen จะทำหน้าที่ 2 อย่าง อย่างแรกได้กล่าวไปแล้วก็คือ การเลือกคำสั่ง Enable ClearType เพื่อให้เครื่องทำงานในส่วนของ ClearType Tuner ที่เราได้กำหนดค่าไว้ และหน้าที่อีกอย่างหนึ่ง ก็คือ การปรับค่าความแม่นยำให้กับหน้าจอ ในกรณีที่เราใช้เครื่องไปนานๆ แล้ว และรู้สึกว่า การ Tap ที่หน้าจอนั้นคลาดเคลื่อนหรือไม่แม่นยำ เราก็สามารถที่จะมาตั้งค่าใหม่ได้จากส่วนของ Align Screen
Settings: Connections
|
ในส่วนนี้จะเป็นการกำหนดให้เครื่องสามารถที่จะรับสัญญาณ Infrared จากเครื่องอื่นๆ
ในส่วนของ Connections จะเป็นการกำหนดค่าสำหรับการเชื่อมต่อเครื่อง Pocket PC กับอุปกรณ์สื่อสารต่างๆ รูปตัวอย่างเป็นการกำหนดค่าสำหรับการเชื่อมต่อเครื่อง Pocket PC กับโทรศัพท์มือถือที่มีระบบ GPRS โดยผ่าน Bluetooth ซึ่งเราสามารถจะเซ็ตค่าได้อย่างง่ายๆ ดังนี้
กำหนดชื่อสำหรับ Connections และเลือกหัวข้อ Bluetooth Dialup Modem
ใส่หมายเลขโทรศัพท์สำหรับ GPRS นั่นก็คือ *99***1# ซึ่งใช้ได้สำหรับเครื่องของ AIS และ DTAC
ส่วนของ User name และ Password ให้เว้นว่างเอาไว้
กำหนด Server Address ดังรูป คือ 202.183.255.20 และ 202.183.255.21
และนี่ก็เป็นรายละเอียดคร่าวๆ สำหรับการกำหนดค่าให้กับเครื่อง Pocket PC ของเราก่อนที่จะเริ่มต้นการใช้งาน ซึ่งประโยชน์ของ Settings ก็คือ เราสามารถที่จะกำหนดค่าให้เครื่อง Pocket PC เหมาะสมกับการใช้งานของเราให้มากที่สุดครับ